รับจำนอง ต้องเสีย “ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา” หรือไม่

 รับจำนอง ต้องเสีย “ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา” หรือไม่ รับจำนอง ต้องเสีย “ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา” หรือไม่ นายทุน นายหน้าหลายคน ทำขายฝาก และ จำนอง ซึ่งความแตกต่างกันของ จำนอง กับ ขายฝาก ค่อนข้างต่างกันมากเรื่องความเด็ดขาด วันนี้ เราจะมาพูดถึงเรื่องของ ภาษีที่เกี่ยวข้องกับบุคคลธรรมดาที่รับ “จำนอง” เงินขาดมือ การเข้าถึงแหล่งเงินทุนธนาคารไม่ได้ จะไปหยิบยืมใครก็ลำบาก พอจะมีอสังหาฯ ไม่ว่าที่ดิน บ้าน เอาเสนอนายทุน ญาติพี่น้อง ในยามฉุกเฉินยืมไม่ได้ก็เอาบ้าน ที่ดินจำนองเป็นหลักประกันซะเลย           “ผู้จำนอง” คือเจ้าของอสังหาฯ นำทรัพย์ไปจำนอง กับ “ผู้รับจำนอง” โดยทรัพย์จำนองเพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้    โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบ อสังหาฯ ให้แก่ผู้รับ การจำนอง ต้องทำที่สำนักงานที่ดินเท่านั้น      การจำนอง ตามกฎหมาย ท่านกำหนดไว้ว่า จะต้องทำเป็นหนังสือ และ...

Read More

ขายฝากอสังหา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีธุรกิจเฉพาะ

ขายฝากอสังหา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีธุรกิจเฉพาะหรืออากรแสตมป์ ภาษี เกี่ยวกับการขายฝาก ต้องนำเงินที่ได้ จากการขายฝากไปรวมคำนวณภาษีกับเงินได้อื่นหรือไม่ ? และขายฝาก ต้องเสียเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะล่ะ ? ต้องมาดูว่า มุ่งค้าหากำไร หรือโดยเสน่หาอีกหรือเปล่า           การขายฝาก เป็นการทำนิติกรรมในรูปแบบของการขายทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็น บ้าน   ที่ดิน  ให้กับผู้รับซื้อฝาก   ทรัพย์สินที่ขายฝากเป็นอสังหาริมทรัพย์ คู่สัญญาจะต้อง ไปจดทะเบียน ณ สำนักงานที่ดินที่ การขายฝากจึงจะมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย ทั้งนี้ หากผู้ขายฝากไม่ได้ไถ่ทรัพย์สินคืนตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่ตกลงกันดังกล่าว ผู้ขายฝากจะหมดสิทธิไถ่ทรัพย์สินคืน โดยผู้รับซื้อฝากไม่ต้องไปใช้สิทธิฟ้องบังคับตามสัญญาขายฝากอีก มาตรา 491 อันว่าขายฝากนั้น คือสัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์นั้นคืนได้ ภาษีที่เกี่ยวข้อง 1.เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2.ภาษีธุรกิจเฉพาะหรือ อากรแสตมป์ กรณีการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ระหว่างผู้ขายฝากและผู้รับซื้อฝากซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ภาระภาษี เงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีธุรกิจเฉพาะของผู้ขายฝากและผู้รับซื้อฝากมีดังนี้ 1.ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.1 การขายฝาก ตามมาตรา 491 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ถือเป็นการ...

Read More