สรุป10 ประเด็นกฎหมายขายฝาก

การขายฝาก เป็นการนำทรัพย์สินไปเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงิน การขายฝากจึงมีความคล้ายคลึงกับเรื่องจำนอง คือผู้ขายฝากต้องการเงิน จึงนำทรัพย์สินไปฝากไว้กับผู้ซื้อฝาก และเมื่อถึงเวลาการไถ่คืนหากผู้ขายฝากไม่มีเงินมาไถ่คืนทรัพย์สิน ก็จะหมดสิทธิ์ไถ่คืนทันที

Read More

3 ข้อควรรู้ ค่าธรรมเนียมขายฝาก อย่างละเอียด

สำหรับค่าธรรมเนียม จะมี 2 ส่วนที่ต้องชำระ คือ ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนขายฝากที่กรมที่ดิน และชำระค่าคอม หรือค่านายหน้า

Read More

ขายฝากกับ บุคคล VS บริษัท เลือกอันไหนดีกว่ากัน

รู้แล้วไม่ผิดหวัง! ขายฝากกับบุคคลหรือขายฝากกับบริษัท เลือกอันไหนดีกว่ากัน

Read More

จำนอง VS ขายฝาก หมายถึงอะไร ข้อควรรู้ก่อนทำธุรกรรม

จำนอง – ขายฝาก หมายถึงอะไร ข้อควรรู้ก่อนทำธุรกรรม หลายคนสงสัยว่า จำนอง – ขายฝาก หมายถึงอะไร หากใครอยากรู้ วันนี้เราได้รวบรวมข้อมูลเพื่อมาไขข้อสงสัยกัน แบบไหนเหมาะกับใคร และต่างกันอย่างไรบ้าง การจำนอง คืออะไรความหมายของการจำนอง           จำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่น ที่ดินหรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจำนอง” เพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้ รับจำนอง (ป.พ.พ. มาตรา 702)           ตัวอย่าง นายเอกได้กู้เงินจากนายโทเป็นจำนวน 2 แสนบาท โดยนายเอกได้นำที่ดินของตนจำนวน 1 แปลงไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้เงินกู้จำนวน 2 แสนบาท ที่นายเอกได้กู้ไปจากนายโท โดยนายเอกไม่ต้องส่งมอบที่ดินของตนให้แก่นายโท นายเอกยังคงมีสิทธิครอบครองและใช้สอยที่ดินของตนได้ตามปกติ การจำนอง...

Read More

7 ขั้นตอนการไถ่ถอนขายฝาก (แบบละเอียดยิบ)

7 ขั้นตอนการไถ่ถอนขายฝาก (แบบละเอียดยิบ)           อยากจะไถ่ถอนขายฝาก  ต้องทำอย่างไร  ค่าใช้จ่ายมีอะไรบ้าง  เอกสารใดที่ต้องเตรียมบ้าง ใช้เวลานานไหม  ขั้นตอนการไถ่ถอนขายฝาก สวัสดีค่ะ วันนี้แพรรินทร์จะมาขอพูดถึง ขั้นตอนการไถ่ถอนขายฝาก เพราะวันนี้มีเคสจริงที่มีลูกค้าต้องการไถ่ถอนขายฝากพอดี เลยจะมารีวิวให้เพื่อนๆและท่านที่สนใจฟังนะคะว่า ปกติแล้วมันจะต้องมีขั้นตอนอะไรยังไงบ้าง เมื่อมีการทำธุรกรรมขายฝากเกิดขึ้นผู้ที่รับซื้อฝาก และผู้ขายฝากได้ทำการขายฝาก ในช่วงระยะสัญญาซึ่ง สัญญาขายฝากจะกำหนดระยะเวลาไถ่ถอนขายฝากที่ดิน ไม่ต่ำกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี หากเมื่อครบกำหนดสัญญา หรืออาจก่อนครบสัญญา หากต้องมีการไถ่ถอนขายฝาก จะต้องดำเนินการอย่างไร การไถ่ถอนขายฝากสามารถทำได้ 2 วิธี คือ           วิธีที่ 1 คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่าย ไปยื่นขอจดทะเบียนไถ่ถอนจากการขายฝาก ที่สำนักงานที่ดิน ต่อหน้าเจ้าพนักงานโดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1.1  ตรวจสอบกรมที่ดิน ที่อยู่ในเขตของที่ตั้งของที่ดินเพื่อเป็น...

Read More

อสังหาฯแบบใด ที่ดิน บ้าน แบบไหน จำนองผ่านง่าย ขายฝากก็ผ่านสบาย

อสังหาฯแบบใด ที่ดิน บ้าน แบบไหน จำนองผ่านง่าย ขายฝากก็ผ่านสบาย               หลาย ๆ ท่านที่ต้องการทำจำนองที่ดิน จำนองบ้าน หรือนำอสังหาฯอื่น ๆ มาทำจำนอง-ขายฝาก กับนายทุน อาจจะเกิดความสงสัยว่าเวลานำทรัพย์สินต่าง ๆ มาทำจำนอง-ขายฝากนั้น ไม่มีนายทุนคนไหนอนุมัติวงเงินให้เลย ทั้งที่เรานั้นก็มั่นใจว่าวงเงินที่เราขอนั้นเมื่อเอามาเปรียบเทียบแล้วไม่ได้สูงกว่าราคาซื้อขาย ตามราคาตลาดในแถว ๆ นั้นเลย และเราก็แสดงรายได้ต่าง ๆ ให้นายทุนดู เพื่อความชัดเจนว่าเราจะมีความสามารถในการผ่อนชำระตามงวด และนำเงินต้นมาไถ่ตามระยะเวลาในสัญญาได้แบบที่จะไม่เกิดปัญหาตามมา แต่นายทุนก็ยังปฎิเสธว่าทรัพย์ของเราเป็นทรัพย์ที่ไม่ควรรับจำนอง-ขายฝาก และฝั่งนายทุนก็มักจะให้เหตุผลคล้ายกันว่า มันเสี่ยงเกินไป                เกณฑ์ทั่วไปในการตรวจสอบทรัพย์สิน โดยทั่วไปแล้ว นายทุนแต่ละท่านก็จะมีเกณฑ์และเงื่อนไขในการคัดกรองทรัพย์ที่นำมาจำนอง หรือว่าขายฝากนั้นมักแตกต่างกันไป แล้วแต่มุมมอง แล้วแต่ดุลยพินิจของนายทุนแต่ละท่าน เหตุผลหลัก ๆ คล้าย ๆ กัน เช่น   1.การประเมินวงเงิน           ตามปกติแล้ว นายทุนจะมีวิธีการป้องกันความเสี่ยงในการรับจำนอง โดยจะประเมินวงเงินด้วยการให้วงเงินที่...

Read More

ลงทุนจำนอง ขายฝากผ่านนายหน้าดีอย่างไร

ลงทุนจำนอง ขายฝากผ่านนายหน้าดีอย่างไร? หลาย ๆ ท่านคงมีความสงสัยว่า ทำไมต้อง ลงทุนจำนอง ขายฝาก ผ่าน นายหน้า หรือตัวแทนคนกลาง ทำไมเราไม่หาลูกหนี้ หรือลูกค้าเอง จะได้ไม่ต้องมาหักส่วนแบ่งที่เขาเรียกกันว่า ปากถุง หรือค่าธรรมเนียม แต่จริง ๆ แล้วหารู้ไม่ว่าอาชีพนายหน้า หรือตัวแทนทั้งหลายต้องผ่านเส้นทางทรหดอะไรมาบ้าง โดยส่วนใหญ่การลงทุนจำนอง หรือขายฝากนั้น นายทุน จะต้องควักกระเป๋าเอาเงินสดของตนเอง มาให้กับเจ้าของทรัพย์ที่ไม่เคยรู้จักมักจี่กันมาก่อนทำให้ยากแก่การเชื่อใจ ยากแก่การคัดกรองว่าทรัพย์ที่เจ้าของนำมาจำนองหรือขายฝากกับเรานั้น เป็นทรัพย์ที่ดีเหมาะสมกับการลงทุนหรือไม่โดยเฉพาะนายทุนมือใหม่หัดเข้าวงการยิ่งจำเป็นต้องระวังใหญ่ เป็นเหตุให้ นายหน้า เข้ามามีบทบาทสำคัญในการเข้ามาช่วยเหลือนายทุนเสาะหาทรัพย์ที่เข้าเกณฑ์หาทรัพย์ที่เหมาะสมที่จะลงทุน ควรค่าแก่เงินของนายทุนทั้งหลายนั่นเอง 1. ทำการตลาดหาทรัพย์ในวงการจำนองขายฝาก เป็นตลาดที่มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง นายทุนมีจำนวนเยอะกว่าเจ้าของทรัพย์ซึ่งนี้คือความยากของนายหน้า เนื่องจากต้องหาทรัพย์มาทำจำนองขายฝาก ทำให้โอกาสทรัพย์ดีๆ จะหลุดมาถึงมือนายทุนรายย่อยน้อยมาก นายทุนมือใหม่ส่วนใหญ่เลยไม่รู้จะไปหาทรัพย์ดีๆ จากที่ไหนกัน การเลือกใช้บริการนายหน้า จึงเป็นช่องทางสำคัญในการค้นหาทรัพย์ที่น่าสนใจในการลงทุน 2. คัดเลือกทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข การคัดเลือกทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข และ ความเป็นไปได้เป็นธรรมดาที่การที่เราจะลงทุนในสิ่งใด เราต้องศึกษาและประเมินมูลค่าของมันให้ดีอย่างถี่ถ้วนเพื่อเป็นการ ลดความเสี่ยง ในการลงทุนให้มีความเสี่ยงน้อยที่สุด แต่นายทุนหลายๆ ท่านไม่ได้มีความเชี่ยวชาญ ความชำนาญในจุดนี้อาจทำให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินผิดพลาด จนทำให้เสียเงิน เสียเวลา และเสียโอกาสในการลงทุนไป แต่ปัจจุบันการประเมินมูลค่าทรัพย์ให้ได้มูลค่าที่แน่นอนจะต้องให้ บริษัทประเมินที่ได้รับการรับรองจาก กลต....

Read More

แลนฟอร์โลน ยินรับเคสร่วมงานกับเอเจ้นท์ทุกเคส

แลนฟอร์โลน ยินรับเคสร่วมงานกับเอเจ้นท์ทุกเคส

Read More

การจำนองบ้าน ธนาคารกับบุคคล ต่างกันอย่างไร

การจำนองบ้านระหว่าง ธนาคาร กับ บุคคล ต่างกันอย่างไร

Read More